บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มกราคม 19, 2018

การศึกษาในชื่อ EVALUATION OF EFFECTIVENESS IN A NOVEL WOUND HEALING OINTMENT-CROCODILE OIL BURN OINTMENT

รูปภาพ
การศึกษาในชื่อ EVALUATION OF EFFECTIVENESS IN A NOVEL WOUND HEALING OINTMENT-CROCODILE OIL BURN OINTMENT โดย Hua-Liang Li. และคณะ เผยแพร่ใน Afr J Tradit Complement Altern Med. 2017; 14(1): 62–72. ยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO)สามารถเร่งกระบวนการหายของแผล(wound healing) ของแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกระดับสองในหนูทดลอง,กระตุ้นกระบวนการสร้างชั้นเซลล์ผิวใหม่(skin regeneration) และการเจริญของรูขุมขน(hair follicles) อีกทั้งยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO) ยังมีฤทธิ์แก้ปวด(antinociceptive) และ ต้านอาการอักเสบ(anti-inflammatory) อีกด้วย แต่อย่างไรก็ตามควรมีการตรวจสอบและศึกษาเพิ่มเติมต่อไปถึงกลไกในกระบวนการซ่อมแซมและการวิจัยเชิงทดลองทางคลินิก (clinical research) ของยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO)

ผลการศึกษาการใช้ยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO) ในแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก

อภิปรายผลการศึกษา(Discussion) กระบวนการหายของแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก(burn wound healing)เป็นกระบวนการที่มีความซับซ้อน สามารถแบ่งแยกย่อยได้หลายระยะ ประกอบด้วย ระยะการอักเสบของบาดแผล(Inflammation) ,ระยะการสร้างชั้นเนื้อเยื่อผิวใหม่(re-epithalization) และระยะปรับรูปร่างชั้นเนื้อเยื่อ(tissue remodeling) (Sünstar et al.,2011) ในการศึกษาครั้งนี้ในแต่ละระยะได้ถูกติดตามและสังเกตการณ์เพื่อประเมินผลในกระบวนการหายของแผล (wound healing)  ยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO) แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในกระบวนการหายของแผล (wound healing) หรือ การสมานแผล อีกทั้งลดระยะเวลาในการฟื้นฟูบาดแผลสู่สภาพปกติได้อย่างมีนัยสำคัญ ยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO) ถูกทำขึ้นตามหลักการแพทย์แผนจีนโบราณ และการแพทย์แผนจีนโบราณเฉพาะท้องถิ่น ที่สารสกัดนั้นก็ได้ถูกใช้ทางคลินิกในท้องถิ่นอย่างกว้างขวางและมีประสิทธิผลที่แสดงถึงเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยเฉพาะผลต่อแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก(burns),แผลกดทับ(pressure ulcers) ,แผลปากมดลูก หรือปากมดลูกกร่อน(cervical erosion),งูสวัด(her...

ฤทธิ์แก้ปวด(Antinociceptive)ของยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO)

การศึกษาในชื่อ EVALUATION OF EFFECTIVENESS IN A NOVEL WOUND HEALING OINTMENT-CROCODILE OIL BURN OINTMENT โดย Hua-Liang Li. และคณะ  เผยแพร่ใน Afr J Tradit Complement Altern Med. 2017; 14(1): 62–72. ฤทธิ์แก้ปวด(Antinociceptive)ของยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO) การใช้กรดอะซิติกกระตุ้นอาการชักดิ้นชักงอในหนูทดลอง(Acetic-Acid-induced writhing response in mice) ถูกใช้เพื่อประเมินฤทธิ์แก้ปวด หรือบรรเทาอาการเจ็บปวดของยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO) ผลการทดสอบในตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่า ผลการควบคุม และยับยั้งอาการเจ็บปวดในยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO) นั้นขึ้นกับขนาดของยา(dose-dependent) ผลทดสอบด้วยการฉีดกรดอะซิติกเข้าที่บริเวณช่องท้องในหนูไมซ์นั้นพบอัตราการยับยั้งอาการเจ็บปวดที่ 24.6%,41.3% และ 48.6% ตามลำดับ อีกทั้งกลุ่มที่ใช้ยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO) ช่วยยืดระยะเวลาในการเกิดอาการชักดิ้นชักงอครั้งแรก โดยพบอัตราการยับยั้งอาการเจ็บปวดที่สูงกว่า 84.4% ที่ข...

การประเมินการดำเนินกิจกรรมและการกระจายตัวของรูขุมขนในวันที่ 28 จากการตัดเนื้อเยื่อบริเวณส่วนหลังของหนูทดลอง หลังเกิดแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก

รูปภาพ
การศึกษาในชื่อ EVALUATION OF EFFECTIVENESS IN A NOVEL WOUND HEALING OINTMENT-CROCODILE OIL BURN OINTMENT โดย Hua-Liang Li. และคณะ เผยแพร่ใน Afr J Tradit Complement Altern Med. 2017; 14(1): 62–72. การวิเคราะห์เชิงปริมาณ(quantitative analysis) แสดงจำนวนรูขุมขนทั้งหมด(Total follicles)และจำนวนรูขุมขนที่กำลังแสดงกิจกรรมในชั้นผิว(active follicles) ของวันที่ 28 จากตัวอย่างกลุ่มที่ใช้ยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้(COBO) ซึ่งมีความใกล้เคียงเป็นอย่างมากกับกลุ่มหลอก(Normal group/Sham group) และเมื่อนำไปเทียบกับกลุ่มที่ใช้ซิลเวอร์ซัลฟาไดอาซีน(SSD) พบว่าจำนวนรูขุมขนทั้งหมด(Total follicles)นั้นสูงกว่า และ จำนวนรูขุมขนที่กำลังแสดงกิจกรรมในชั้นผิว(active follicles) สูงกว่าถึง 75% และ 67% ตามลำดับ ตามภาพประกอบหมายเลข 6a ในขณะที่จำนวนของรูขุมขนปฐมภูมิและทุติยภูมิ(primary and secondary follicles) สูงกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม(burn control) ถึง 75% และ 50% ตามลำดับ ตามภาพประกอบหมายเลข 6b,6c ภาพประกอบหมายเลข 6 การประเมินการดำเนินกิจกรรมและการกระจายตัวของรูขุมขนในวันที่ 2...

ผลของยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ ต่อกิจกรรมและการกระจายตัวของรูขุมขน หลังเกิดแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก

รูปภาพ
ผลของยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (Crocodile oil burn ointment: COBO) ต่อกิจกรรมและการกระจายตัวของรูขุมขน(hair follicles) ในวันที่ 28 หลังเกิดแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก การศึกษาในชื่อ EVALUATION OF EFFECTIVENESS IN A NOVEL WOUND HEALING OINTMENT-CROCODILE OIL BURN OINTMENT โดย Hua-Liang Li. และคณะ  เผยแพร่ใน Afr J Tradit Complement Altern Med. 2017; 14(1): 62–72. การกระจายตัวของรูขุมขน(hair follicles) ได้สะท้อนให้เห็นถึงโครงสร้างชั้นผิว(skin structure) ในการสมานแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก เพื่อศึกษาต่อไปถึงผลของยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO) ต่อกิจกรรมและการกระจายตัวของรูขุมขน(hair follicles)หลังเกิดแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกนั้น ทำการตัดตัวอย่างตามขวางและย้อมสีด้วยเทคนิคพิเศษ Tetrachrome stain Sacpic ผลแสดงในภาพประกอบหมายเลข 5 การตรวจทางเนื้อเยื่อ(histological examination) ในวันที่ 28 แสดงรูขุมขนปฐมภูมิและทุติยภูมิ(primary and secondary follicles) ในกลุ่มหลอก(sham group)  ตามภาพประกอบหมายเลข 5A,5a ซึ่งมีการจัดเรียงและกระจายตัวที...

ผลของยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO) ต่อโครงสร้างผิว(skin structure)

รูปภาพ
ผลของยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO)  ต่อโครงสร้างผิว(skin structure) การศึกษาในชื่อ EVALUATION OF EFFECTIVENESS IN A NOVEL WOUND HEALING OINTMENT-CROCODILE OIL BURN OINTMENT โดย Hua-Liang Li. และคณะ  เผยแพร่ใน Afr J Tradit Complement Altern Med. 2017; 14(1): 62–72. ณ วันที่ 28 เมื่อการศึกษาสิ้นสุดลง ผิวหนังบริเวณแผลถูกนำออกจากสัตว์ทดลองที่ยังมีชีวิตเพื่อใช้ประเมินผลทางเนื้อเยื่อ ตัวอย่างถูกตัดตามขวางผ่านทางยาวและย้อมด้วยสีฮีมาทอกซีลิน (Hematoxylin) และ อีโอซิน (Eosin) ผลการทดสอบแสดงในภาพประกอบหมายเลข 4  ในกลุ่มหลอก(sham Group) เนื้อเยื่อของผิวหนังชั้นนอกเอพิเดอร์มิส(epidermis) มีความบาง โครงสร้างชั้นผิว(Skin structure)และ การวางตัวของคอลลาเจน (collagen deposition) มีการจัดเรียงและกระจายตัวอย่างเป็นระเบียบ ตามภาพประกอบหมายเลข 4a  ในกลุ่มควบคุม(burn Control) และในกลุ่มที่ใช้ซิลเวอร์ซัลฟาไดอาซีน (SSD) เนื้อเยื่อของผิวหนังชั้นนอกเอพิเดอร์มิส(Epidermis) มีความหนากว่ากลุ่มหลอก(Sham group) และกลุ่มที่ใช้ยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร...

Result: ผลการทดลองกระบวนการหายของแผล(wound healing) ด้วยยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้

รูปภาพ
การศึกษาในชื่อ EVALUATION OF EFFECTIVENESS IN A NOVEL WOUND HEALING OINTMENT-CROCODILE OIL BURN OINTMENT โดย Hua-Liang Li. และคณะ เผยแพร่ใน Afr J Tradit Complement Altern Med. 2017; 14(1): 62–72. ภาพถ่ายด้วยเลนส์ออพติคัล ในบริเวณแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก ที่ระยะเวลา 3,7,10,14,21 และ 28 วัน  ในช่วง 3 วันแรก เกิดสะเก็ดแผลสีน้ำตาลขึ้นในบริเวณแผลแต่ไม่สามารถใช้วัดความแตกต่างในแต่ละกลุ่มได้  ตามภาพประกอบหมายเลข 3a,3g และ 3m ภาพประกอบหมายเลข 3 แสดงการหดตัวของบาดแผล(wound Contraction) แผลที่บริเวณส่วนหลังของหนูทดลองถูกถ่ายภาพที่ระยะเวลา 3,7,10,14,21 และ 28 วัน  หลังเริ่มการรักษาที่แตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุม(burn Control) ; a-f , กลุ่มที่ใช้ซิลเวอร์ซัลฟาไดอาซีน (SSD) ; g-l, กลุ่มที่ใช้ยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO) ; m-r ภาพถ่ายแสดงตัวอย่างจากแต่ละกลุ่ม มาตราส่วน 1ซม. การหดตัวของบาดแผล(wound Contraction)แสดงค่าเป็นเปอร์เซ็นต์(%) ในแต่ละกลุ่มได้แก่ กลุ่มควบคุม(burn Control),กลุ่มที่ใช้ซิลเวอร์ซัลฟาไดอาซีน (SSD) และกลุ่มที่ใช้...

ผลการทดลอง (Results) : EVALUATION OF EFFECTIVENESS IN A NOVEL WOUND HEALING OINTMENT-CROCODILE OIL BURN OINTMENT

รูปภาพ
EVALUATION OF EFFECTIVENESS IN A NOVEL WOUND HEALING OINTMENT-CROCODILE OIL BURN OINTMENT  โดย Hua-Liang Li. และคณะ เผยแพร่ใน Afr J Tradit Complement Altern Med. 2017; 14(1): 62–72. ผลการทดลอง(Results)    ผลของยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO) ต่อการรักษาแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก ระยะเวลาที่ใช้ในการรักษา(healing time)แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกในกลุ่มที่ใช้ยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้ (COBO) คือ 20.5±1.3 วัน สั้นกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม(burn Control) ที่ใช้ระยะเวลา 25.0±2.16 วัน และกลุ่มที่ใช้ซิลเวอร์ซัลฟาไดอาซีน (SSD) ที่ใช้ระยะเวลา 22.67±1.53 วัน แสดงผลตามภาพประกอบหมายเลข 2  ภาพประกอบหมายเลข 2 แสดงระยะเวลาที่ใช้ในการรักษา(healing time) แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก หน่วยเป็นวัน รายงานค่าในรูปแบบ mean±SE จากจำนวน 12 แผล เครื่องหมายดอกจันแสดงนัยสำคัญที่แตกต่างกันในทางสถิติ * P < 0.05 ; ** P < 0.01 

การประเมินผลของประสิทธิภาพในยาขี้ผึ้งรักษาบาดแผลแบบใหม่ ด้วยยาขี้ผึ้งแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกที่มีส่วนผสมของน้ำมันจระเข้

รูปภาพ
อ้างอิงจากการศึกษาในชื่อ EVALUATION OF EFFECTIVENESS IN A NOVEL WOUND HEALING OINTMENT-CROCODILE OIL BURN OINTMENT โดย Hua-Liang Li. และคณะ เผยแพร่ใน Afr J Tradit Complement Altern Med. 2017; 14(1): 62–72. บทนำ แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก เป็นหนึ่งในอาการบาดเจ็บที่พบว่ามีอุบัติการณ์สูงและแพร่หลายโดยทั่วไป และถือเป็นปัญหาทางสาธารณสุขในทั่วโลกจนถึงปัจจุบัน (Bell et al., 1993, Li et al., 2012). อาการบาดเจ็บจากการเผาไหม้อาจนำไปสู่การเกิดอาการแทรกซ้อน อาทิ การไร้ความสามารถหรือพิการเป็นเวลานาน , การรักษาในโรงพยาบาลที่ยาวนานขึ้น,การสูญเสียอวัยวะส่วนปลาย หรือแม้แต่การเสียชีวิต (Upadhyay et al., 2009). กระบวนการรักษาและซ่อมแซมบาดแผลเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องจากอาการบาดเจ็บต่อผิวหนัง ซึ่งถูกเหนี่ยวนำโดยปฏิกิริยาการอักเสบ ( Inflammatory Response) และเซลล์ใต้ชั้นเดอร์มิส(Dermis) เริ่มกระบวนการสร้างคอลลาเจนมากขึ้น ส่งผลให้เนื้อเยื่อบุผิว (Epithelial tissue) ถูกเสริมสร้างขึ้นใหม่ในเวลาต่อมา (Wilgus, 2008) ถึงแม้ในปัจจุบันจะมีความก้าวหน้าและพัฒนาที่หลากหลาย อันช่วยให้เรามีความเข้าใจและสนใจใน...